วิถีชีวิตและการศึกษาอย่างยั่งยืน
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) จึงร่วม สืบสานพระราชปณิธาน ดำเนินนโยบาย โครงการชีววิถีเพื่อการพัฒนา อย่างยั่งยืน ตามแนวพระราชดำริ เพื่อตอบสนองนโยบายของรัฐบาล และนโยบายของผู้ว่าการ กฟผ. ให้มีการส่งเสริมการใช้ จุลินทรีย์ทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านเกษตรกรรม ด้านปศุสัตว์ ด้านประมง และสิ่งแวดล้อม ตลอดจนเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจ เรื่องเศรษฐกิจ โดยการดำเนินชีวิต แบบพออยู่ พอกิน พึ่งพาตนเองได้ด้วยการทำเกษตรธรรมชาติ ลดการใช้ สารเคมี จึงได้จัดตั้งกลุ่มงาน โครงการชีววิถีเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กฟผ. หนึ่งในตัวชี้วัดที่สำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงในด้านความสอดคล้องเนื้อหา ได้แก่ ข้อริเริ่มระดับโลกว่าด้วยการศึกษาต้องมาก่อน (Global Education First Initiative) ซึ่งประกาศโดยเลขาธิการสหประชาชาติ เมื่อปี 2012 ข้อริเริ่มนี้มีความสำคัญ 3 ประการ คือ การให้เด็กทุกคนได้เข้าเรียน การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ และการส่งเสริมการเป็นพลเมืองโลก เนื่องจากตระหนักว่า “การเข้าถึงการศึกษาเป็นสิ่งที่มีความสำคัญ แต่ยังไม่เพียงพอ” ในการดำเนินการตามข้อริเริ่มดังกล่าว ยูเนสโกจึงได้จัดทำโครงร่างเรื่องการศึกษาเพื่อส่งเสริมการเป็นพลเมืองโลกขึ้น (UNESCO 2013b; UNESCO 2014a). ยูเนสโกได้นำเสนอเอกสารต่อที่ประชุมสมัยสามัญในปี 2013 ว่า “ยูเนสโกได้เน้นวิสัยทัศน์ด้านมนุษยธรรม และลักษณะองค์รวมของการศึกษาว่าเป็นพื้นฐานของการพัฒนาบุคคล รวมถึงเศรษฐกิจและสังคม วัตถุประสงค์ของการศึกษาเป็นไปเพื่อการพัฒนาและเสริมสร้างพลังประชาชน ให้บรรลุความต้องการพื้นฐานของบุคคล ตอบสนองความคาดหวัง และนำไปสู่การบรรลุความสำเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชุมชน และประเทศชาติ” (UNESCO 2013a).
สภาคณาจารย์สภาพนักงานศูนย์ศึกษาการพัฒนาที่ยั่งยืนและเศรษฐกิจพอเพียงศูนย์สาธารณประโยชน์และประชาสังคมศูนย์นวัตกรรมทางธุรกิจศูนย์ปัญญาทัศน์เพื่อการจัดการศูนย์พัฒนาและบริการด้านภาษาและการสื่อสารศูนย์ประสานคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ศูนย์คลังปัญญาและสารสนเทศสหกรณ์ออมทรัพย์ สพบ. ดำเนินรายการโดย ดร.ธิติยา บุญประเทือง ผู้ช่วยนักวิจัยอาวุโส สวทช.